ถ้ามาเขียนโปรแกรมแบบนี้ Try Catch มันก็ไม่ได้ช่วยอะไรอยู่ดีครับ
เพราะว่า มันจะ Error ที่ฝั่ง CPU Step
[code]
void main()
{
ถ้ามาเขียนโปรแกรมแบบนี้ Try Catch มันก็ไม่ได้ช่วยอะไรอยู่ดีครับ
เพราะว่า มันจะ Error ที่ฝั่ง CPU Step
[code]
void main()
{
การใช้ try catch ก็จะทำให้เราตรวจจับ error ได้ดีขึ้น ใช่หรือป่าวครับ
ผมเคยเจอแบบที่ใส่ try ครอบทั้งฟังก์ชั่นเลย แล้ว catch ไม่ให้้แสดงเตือนอะไรเลย หรือดัก catch ไม่ครบทุก exception ผลก็คือ ไม่มี error เกิดขึ้นเลย บางคนอาจจะคิดว่า แบบนี้มันก็ดีแล้วไม่ใช่เหรอ สำหรับผมคิดว่า ไม่ดีครับ error ธรรมดาจะกลายพันธุ์เป็น Bug ของโปรแกรมแทน เพราะจุดประสงค์ในการดัก try catch ที่แท้จริงคือ การดัก error ที่เรารู้ตัวอยู่แล้วว่าอาจจะเกิด แล้วทำการแก้ไขโดยใช้ catch แต่ถ้าเราดักเอาแค่ว่า ไม่ให้ error มันโผล่เฉยๆ การทำงานก็เพี้ยน แทนที่ขึ้น error มาให้เราแก้ง่ายๆ กลายเป็น bug ที่ผู้ดูแลต้องมาตามแก้ไขแทน นั่งๆทำงานอยู่อาจจะจามเพราะโดนด่าไล่หลังมาก็ได้นะครับ![]()
ดังนั้นก็ระวังหน่อยนะครับ เรื่องการใช้ try catch ใช้เมื่อจำเป็นเท่านั้น![]()
ก็จริงอย่างท่านข้างบนว่ามา สมัยผมทำโปรเจกจบ ผมก็ใส่เจ้า try catch นี่แหละ
เวลาเกิด error มันก็แจ้งเตือนของมันเป็นธรรมดา แต่กลายเป็นว่าไม่รู้มันไป error ตรงไหน
สุดท้ายผมก็ต้องเอาเจ้า try catch ออกไป ถึงจะไปแก้ถูกจุด![]()
![]()
ยังมีข้อผิดพลาดอื่นๆอีกเช่น
1.FileNotFoundException
2.ClassNotFoundException
3.EOFException
4.IOException
เกี่ยวกับพวกเปิดปิดไฟล์นะ เมื่อก่อนตอนยังไม่รู้จัก Try and catch เขียน throws IOException ไว้หลัง main ตลอดเลย
ผมไม่เค้าใจคำสัง
[code] Console con;
try and catch
ใช้ในการตรวจจับข้อผิดพลาดของโปรแกรม
เวลาเขียนต้องเขียนเป็นคู่กัน ห้ามแยกจากกัน
ใน 1 try มี catch มากกว่า 1 อันได้
catch จะจับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นใน try
Try catch ใช้ในตอนที่จะจับ Error บางอย่างที่เป็นปัญหาของโปรแกรมครับ อย่างเช่น เราจะใส่ข้อมูลตัวเลขใน Textbox เพื่อมาคำนวณ แต่ผู้ใช้กับใส่ String มา โปรแกรมจะเกิดการ Runtime Error ได้ถ้าไม่มี Try-Catch ครับ
Actions : (View-Readers)
There are no names to display.