บทนำ[color=#FF0000] รูปแบบและโครงสร้างของ HTML
**Hidden Content: To see this hidden content your post count must be 1 or greater.**
อ้างอิงจาก http://www.crnfe.ac.th
บทนำ[color=#FF0000] รูปแบบและโครงสร้างของ HTML
**Hidden Content: To see this hidden content your post count must be 1 or greater.**
อ้างอิงจาก http://www.crnfe.ac.th
บทที่ 1[color=#FF0000] การกำหนดสีให้กับ Background และสีของตัวอักษร
+ การกำหนดสีให้กับ Background
+ การกำหนดสีให้กับตัวอักษรโดยใช้ Text Color
+ การกำหนดสีให้กับตัวอักษรโดยใช้ Font Color
**Hidden Content: To see this hidden content your post count must be 1 or greater.**
อ้างอิงจาก http://www.crnfe.ac.th
บทที่2 การกำหนดรูปแบบตัวอักษรและการจัดวางตำแหน่งของข้อความ
+ การกำหนดหัวเรื่อง
+ การกำหนดขนาดตัวอักษร
+ รูปแบบและชนิดของตัวอักษร
+ ตัวอักษรแบบพิเศษ
+ การจัดวางตำแหน่งของข้อความ
+ การจัดวางข้อความให้อยู่ตรงกลาง
[hide=1]การกำหนดรูปแบบตัวอักษรและการจัดวางตำแหน่งของข้อความ
การกำหนดหัวเรื่อง (Heading) <Hx>..</Hx>
ในการสร้างเวปเพจ เรามักกำหนดหัวเรื่อง (Heading) ไว้ด้านบนสุด เนื่องจากจะเป็นที่สังเกตุ มองเห็นได้ง่ายที่สุด โดยภาษา HTML แยกขนาดของหัวเรื่อง (Heading) ได้ 6 ระดับ ซึ่ง H1 จะใหญ่ที่สุด จนถึง H6 จะมีขนาดเล็กที่สุด
คำสั่งที่ใช้ในการกำหนดหัวเรื่อง (Heading) เขียนได้ดังนี้
<Hx>.....<Hx>
โดย x เท่ากับ ตัวเลข 1-6 ซึ่งเป็นขนาดของตัวอักษร
ตัวอย่าง
Source
<html>
<head>
<title></title>
<body text="#FFFFFF" bgcolor="#000000">
<H1>Heading 1 </H1>
<H2>Heading 2</H2>
<H3>Heading 3</H3>
<H4>Heading 4</H4>
<H5>Heading 5</H5>
<H6>Heading 6</H6>
</body>
</html>
View
Heading 1
Heading 2
Heading 3
Heading 4
Heading 5
Heading 6
การกำหนดขนาดตัวอักษร <Font Size=n>..</Font>
ในกำกำหนดขนาดหัวข้อด้วยคำสั่ง <Hx> เราจะพบว่าส่วนของข้อความที่เขียนต่อกันนั้นจะอยู่คนละบรรทัดกัน ไม่สามารถที่จะทำให้ตัวอักษรมีขนาดที่ต่างๆกันให้อยู่ในบรรทัดเดียวกันได้ ด้วยเหตุนี้เรามาลองใช้คำสั่ง <Font size=value>กันดูนะครับ โดย value คือจำนวนตัวเลข 1-7 (ขนาดของตัวอักษรมี 7 ขนาด) โดยตัวเลขที่มาก หมายถึงขนาดที่มากกว่า ซึ่งตรงกันข้ามกับ <Hx>
ตัวอย่าง
Source
<html>
<head>
<title></title>
<body text="#000000" bgcolor="#AAFFFF">
<font size=1>font size 1 </font>
<font size=2>font size 2 </font>
<font size=3>font size 3 </font>
<font size=4>font size 4 </font>
<font size=5>font size 5 </font>
<font size=6>font size 6 </font>
<font size=7>font size 7 </font>
</body>
</html>
View
font size 1
font size 2
font size 3
font size 4
font size 5
font size 6
font size 7
จริงๆแล้วการกำหนดขนาดจะถุกอ้างอิงโดยคำสั่ง <BASEFONT SIZE=x> อีกที โดยที่ x เป็นขนาดของตัวอักษร ซึ่งมีค่าตั้งแต่ -7 จนถึง +7
แต่โดยทั่วไปแล้ว ถึงแม้ว่าเราไม่ได้กำหนด ขนาดตัวอักษรลงไปด้วย แต่เวปเบราเซอร์จะกำหนดให้ <BASEFONT SIZE=3> เสมอ ซึ่งถือเป็นค่าปกติ
ตัวอย่าง
Source
<html>
<head>
<title></title>
<body text="#000000" bgcolor="#AAFFFF">
<Basefont size=4>
<font size=+1>font size =5 </font>
<font size=+2>font size =6 </font>
<font size=+3>font size =7 </font>
<font size=-1>font size =3 </font>
<font size=-2>font size =2 </font>
<font size=-3>font size =1 </font>
<font size=5>font size= 5 </font>
</body>
</html>
View
font size =5
font size =6
font size =7
font size =3
font size =2
font size =1
font size =5
รูปแบบตัวอักษร
มีอยู่สองแบบคือ แบบ Physical Styles และ Logical Style
Physical Styles
ลักษณะ/รูปแบบตัวอักษร รูปแบบคำสั่ง ความหมาย
Bold ... ตัวอักษรแบบหนา
Italic ... ตัวอักษรแบบเอียง
Underline ... ตัวอักษรแบบขีดเส้นใต้
TYPEWRITER TEXT <TT>...</TT> ตัวอักษรแบบตัวพิมพ์
Logical Styles
ลักษณะ/รูปแบบตัวอักษร รูปแบบคำสั่ง ความหมาย
Address <address> ... </address> แสดงข้อมูลที่เกี่ยวกับที่อยู่
Citaions <CITE> ... </CITE> ใช้แสดงข้อมูลอ้างอิงต่างๆ
Computer Code <CODE> ... </CODE> ใช้กับโค้ดของคอมพิวเตอร์ มักมีความกว้างคงที่
Emphasis ... ตัวอักษรแบบเอียง
Keyboard <KDB> ... </KDB> ใช้เมื่อผู้ใช้พิมพ์ตัวอักษรจากคีย์บอร์ด ตัวอักษรจะหนาขึ้น
Samples <SAMP> ... </SAMP> ใช้แสดงสถานะของคอมพิวเตอร์ ใช้ตัวอักษรในรูปแบบเดิม แต่ เพิ่มความหนาของตัวอักษร
Strong ... ใช้เน้นข้อความที่ต้องการเน้นมากๆ
Variable Name <VAR> ... </VAR> ใ ช้กับข้อมูลที่จะถูกเปลี่ยนแปลง
Blockquote <BLOCKQUOTE> ... </BLOCKQUOTE> แสดงผลโดยทำการเพิ่มย่อหน้า
DFN <DFN> ... </DFN> ใช้แสดงค่าที่กำหนดในรูปของตัวอักษรแบบเอียง
การใช้ตัวอักษรแบบพิเศษ
เนื่องจากการเขียน HTML เราไม่สามารถให้เวบบราวเซอร์ แสดงตัวอักษรที่ไป ตรงกับคำสั่งได้เช่นตัวอักษร <, >, & , " เป็นต้น ตัวอักษรเหล่านี้ไม่สามารถพิมพ์ลงไปตรงๆได้ เนื่องจากเวบบราวเซอร์จะตีความหมายว่า ตัวอักษรเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของคำสั่ง
ดังนั้นการที่จะให้ตัวอักษรเหล่านี้ไปปรากฏบนเว็บบราว์เซอร์ได้ ต้องเขียนเป็น เครื่องหมายพิเศษ ซึ่งสามารถเขียนได้ทั้งใช้ตัวเลขรหัสแอสกี้ และแบบใช้รหัสตัวอักษร เช่น เครื่องหมาย < หากใช้รหัสแบบตัวเลขให้ใช้ < หรือถ้าอยากใช้แบบตัวอักษรให้ใช้ < เป็นต้น
ตัวอย่าง
Source
<html>
<head><title> Web Builder </title></head>
<body bgcolor=pink text="black">
(
บทที่ 3
________________________________________
การขึ้นบรรทัดใหม่ การย่อหน้าและการขีดเส้นคั่น
**Hidden Content: To see this hidden content your post count must be 1 or greater.**
บทที่ 4 การแสดงผลแบบรายการ (List)
+ รายการแบบใช้สัญลักษณ์กำกับ
+สมาชิกของรายการ
+ การกำหนดสัญลักษณ์
+ รายการแบบใช้ตัวเลขหรือตัวอักษรกำกับ
+ การกำหนดรูปแบบตัวอักษรแบบตัวเลข
+ การกำหนดรูปแบบตัวอักษรอื่นๆ
+การกำหนดรายการแบบเมนู
+ การกำหนดรายการแบบไดเร็กทอรี
+ การกำหนดรายการแบบจำกัดความ
+ การกำหนดรายการคำจำกัดความแบบกระชับ
________________________________________
**Hidden Content: To see this hidden content your post count must be 1 or greater.**
บทที่ 5 การจัดรูปแบบการแสดงผลแบบกลุ่ม
+ Preformatted Text
**Hidden Content: To see this hidden content your post count must be 1 or greater.**
Actions : (View-Readers)
There are no names to display.